วันอังคารที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2557

V-Killer in FD [วิธีฆ่าไวรัสในแฟลชไดร์ฟ]


[วิธีฆ่าไวรัสในแฟลชไดร์ฟ]

ในปัจจุบันนี้เราคงปฎิเธสไม่ได้ว่า แฟลชไดร์ฟ เป็นอุปกรณ์ที่สำคัญเพิ่มขึ้นอีกอย่างหนึ่งไปแล้ว ซึ่งหลายคนก็ต้องมีพกติดตัวตลอดเวลา พอๆกับการพกโทรศัพท์มือถือ เพราะมันสามารถบันทึกข้อมูลได้เยอะแยะไปหมด ทำให้เราใช้งานง่าย เมื่ออยากได้ข้อมูลที่เครื่องโน้น เครื่องนี้ก็สามรถเสียบแล้วดึงข้อมูลมาได้เลย ซึ่งการกระทำแบบนี้ๆแหละที่ทำให้เจ้าไวรัสตัวร้ายตัวนี้แพร่กระจายไปอย่างง่ายดายหรือเกิน เราจึงต้องหาวิธีการกำจัดเจ้าตัววายร้ายตัวนี้ ก่อนที่มันจะมาทำลายข้อมูลในเครื่องของเรา
 
ก่อนที่เราจะกำจัดไวรัสตัวร้ายตัวนี้ไปจากเราได้นั้น เราก็ต้องรู้ก่อนว่าแฟลชไดร์ฟที่เราใช้งานมันทุกวี่ทุกวันนี้ได้ติดไวรัสมาหรือไม่ ขั้นแรกให้ตรวจเช็คแฟลชไดร์ ตามวิธีต่อไปนี้
  1. กด Shift ค้างขณะเสียบแฟลชไดร์ฟประมาณ 10 วินาที
  2. Double Click ที่ My computer
  3. คลิกขวาที่แฟลชไดร์ฟถ้าปรากฎคำว่า Open อยู่บนสุด แสดงว่า แฟลชไดร์ฟไม่มีไวรัส แต่ถ้าปรากฎคำว่า Auto Play อยู่บนสุดแสดงว่ามีไวรัส หรือ  Double Click  ที่แฟลชไดร์ฟ แล้วปรากฎคำว่า Open with ก็แสดงว่ามีไวรัสอยู่เช่นเดียวกัน
 
เมื่อเราได้ตรวจเช็คแฟลชไดร์ฟแล้ว ปรากฎว่าแฟลชไดร์ฟนั้นมีไวรัส เรามีวิธีฆ่าไวรัสแบบง่ายๆที่ใครก็สามารถทำได้มาฝากกันดังนี้
  1. Double Click เพื่อเปิด My computer ขึ้นมา
  2. Double Click เพื่อเปิด USB Drive
  3. คลิกเลือก Tools
  4. คลิกเลือก Folder Options
  5. เลือก View
  6. คลิกเลือก Show hidden files and folders
  7. คลิกที่ปุ่ม Hide extensions for known file types เพื่อทำการเลือกออก
  8. คลิกที่ปุ่ม Hide protected operating system files เพื่อทำการเลือกออก  กด Apply แล้วกด OK (จะปรากฎ Folder เป็นเงา ๆขึ้น (นั่นคือไวรัส))
  9. คลิกเลือก Recycled system Volume information Autorlin.inf msvcr71.dll (Folder ไวรัสจะปรากฎขึ้น)
  10. กด Delete เพื่อฆ่าไวรัส
  11. ขั้นสุดท้ายนี้คือการตรวจแฟลชไดร์ฟอีกครั้ง  ว่าไวรัสได้หายไปหรือไม่
 
         ข้อควรระวัง ในการใช้งานแฟลชไดร์ฟ คือ เราต้องหมั่นอัพเดทโปรแกรมแอนตี้ไวรัสเสมอ เพื่อเป็นการปกป้องเครื่องคอมพิวเตอร์ของเรา และเราไม่ควรใช้แฟลชไดร์ฟร่วมกับคนอื่น ถ้าจำเป็นก็ให้ขยันสแกนไวรัส โดยไม่ปล่อยให้มันลุกลาม และมีอาการหนัก  เราขอแนะนำโปรแกรมจัดการกับไวรัส ดังนี้
o      Trend Micro Sysclean Package
o      avast! Virus Cleaner Tool
o      Cureit Scaner for Windows
o      Ad-Aware SE Professional Build 1.06r1
o      ClamWin Free Antivirus Version 0.93.1
o      RemoveIT Pro v4 – SE
เพียงเท่านี้ เราก็ใช้ แฟลชไดร์ฟ อย่างสะบายใจได้แล้ว โดยไม่ต้องคอยระแวงว่า แฟลชไดร์ฟและคอมพิวเตอร์ของคุณจะโดนไวรัสอีกต่อไป
ข้อมูลเพื่มเติม : วิกิพีเดีย ประเทศไทย

10 วิธีใช้แฟลชไดรฟ์ที่คุณคาดไม่ถึง


10 วิธีใช้แฟลชไดรฟ์ที่คุณคาดไม่ถึง

ไม่อยากพูดเยอะ ไปดูกันเถอะ
ปล. มีแต่เสียง เหมือนวิทยุ
(จาก ครอบครัวข่าว FM106 Mhz)



ข้อมูลเพื่มเติม : วิกิพีเดีย ประเทศไทย

รวมสารพันปัญหา USB Flash Drive


รวมสารพันปัญหา USB Flash Drive


อย่างไรก็ตาม ด้วยคุณประโยชน์ของแฟลชไดรฟ์ที่มากล้นนี้เอง จึงทำให้การใช้งานมากขึ้นและสิ่งที่ตามมาก็คือ ปัญหาต่างๆ ที่แวะเวียนมาให้เจอกันอยู่ประจำ ซึ่งบางปัญหาก็เรื้อรังจนยากจะแก้ไข แต่บางปัญหาก็อาจต้องใช้ความเข้าใจอยู่บ้าง ในการแก้ไข ซึ่งบอกได้เลยว่าส่วนใหญ่ไม่ใช่เรื่องยากแต่อย่างใด


-USB Recognize สาเหตุที่เจอกันบ่อย เนื่องจากความไม่ Compatible กันระหว่างเมนบอร์ดและแฟลชไดรฟ์ ซึ่งบางทีไดรเวอร์ของ USB Chipset เป็นรุ่น USB เวอร์ชั่นเก่า แต่แฟลชไดรฟ์รุ่นใหม่กลายเป็น USB 3.0 ไปหมดแล้ว ซึ่งบางครั้ง ยิ่งใช้ระบบปฏิบัติการรุ่นเก่า ก็ยิ่งไม่มีไดรเวอร์ให้ใช้งาน ทางออกที่พอทำได้ก็คือ หาไดรเวอร์ของเมนบอร์ดรุ่นนั้นๆ มาอัพเกรดใหม่อีกครั้งหนึ่ง
-USB Flash Drive ไม่ทำงาน เป็นไปได้ว่าเกิดจากการที่ไฟเลี้ยงจากเมนบอร์ดส่งมายังแฟลชไดรฟ์ได้ไม่เต็มที่ ซึ่งมักจะเห็นได้จากการใช้พอร์ต USB ด้านหน้าเครื่องหรือบางครั้งก็เกิดจากการต่อผ่านสาย USB ที่มาจากด้านหลังเครื่องอีกทีหนึ่ง ซึ่งทางแก้ไขก็อาจจะต้องต่อเข้ากับพอร์ตโดยตรงหรือการเปลี่ยนสายต่อเส้นใหม่
-แฟลชไดรฟ์ใช้ได้บ้าง ไม่ได้บ้าง ปัญหานี้อาจเกิดจากการทับซ้อนกันของ Letter path ซึ่งเป็นตัวระบุชื่อไดรฟ์ต่างๆ ที่มีอยู่ในเครื่อง โดยเฉพาะคอมพ์ที่มีการติดตั้ง Reader Card มักจะพบปัญหาบ่อย ทางแก้ก็คือ ให้เมาส์ขวาที่ My Computer แล้วคลิกที่ Disk Management ให้เลือกที่ช่องของแฟลชไดรฟ์ คลิกขวาเปลี่ยน Change Drive Letter and Paths ให้เป็นไดรฟ์อื่นเท่านี้ก็ใช้ได้แล้ว
-Copy file ไม่ได้ ฟ้องว่า There is not enough disk space ตลอดเวลา ข้อนี้สันนิษฐานได้ว่าเกิดจากการฟอร์แมตแฟลชไดรฟ์นั้นเป็นแบบ FAT หรือ FAT32 จึงไม่สามารถ Copy file ที่มีขนาดใหญ่กว่า 4GB ได้ ดังนั้นแนวทางแก้ไข ก็ควรจะฟอร์แมตแฟลชไดรฟ์ตัวดังกล่าวให้เป็น NTFS เสีย
-เสียบแฟลชไดรฟ์ ใช้งานเสร็จก็ถอด ไม่กี่ครั้งก็เสีย ปัญหานี้เจอกันบ่อย โดยเฉพาะกับคนที่มักจะใช้แฟลชไดรฟ์แบบไม่มัดระวัง ซึ่งโดยปกติแล้ว ไม่ควรถอดแฟลชไดรฟ์ระหว่างการทำงานหรือแม้กระทั่งทำงานเสร็จแล้ว ก็ควรจะตัดระบบการทำงานให้เรียบร้อยเสียก่อน ด้วยการเมาส์ขวาที่ไอคอนพอร์ต USB มุมล่างขวาของหน้าจอแล้วสั่ง Safely Remove แล้วจึงค่อยดึงแฟลชไดรฟ์ออกจากพอร์ต

ข้อมูลเพื่มเติม : วิกิพีเดีย ประเทศไทย

ทดลองวงจรออสซิลเลเตอร์แบบ crystal


ทดลองวงจรออสซิลเลเตอร์แบบ crystal


วงจร Crystal oscillators เป็นวงจรกำเนิดความถี่ที่นิยมใช้งานกันมาก มีข้อดีที่ไม่สามารถหาได้จากวงจรกำเนิดความถี่แบบอื่น ๆ คือ เสียรภาพทางความถี่เป็นเยียม หรือว่ามีความถี่ที่คงที่อยู่ตลอดเวลา





ตัวอย่างวงจรที่จะนำมาทดลองสร้าง
อุปกรณ์จำพวก Crystal เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ค่อนข้างบอบบาง เวลาใช้งาน Crystal ต้องให้ทำงานที่ระดับแรงดันต่ำ ๆ ถ้าเกิดความร้อนอาจจะทำให้ความถี่ผิดเพี้ยน หรือเสียหายได้


วงจรที่ประกอบขึ้นมาจากอะไหลเก่า ๆ่้

สัญญาณ OUTPUT
จากการทดลอง เมื่อประกอบวงจรเสร็จพร้อมใช้งาน ลองนำไปวางใกล้ ๆ เครื่องรับ (ต้นแบบผลิตความถี่ 27 MHz) ผลปรากฏว่า เครื่องรับสามารถรับสัญญาณได้ดี ลองปรับไปโหมด CW แล้วลองใส่คีย์ที่วงจร Oscillator เสียงที่ออกมาใส่เจ๋วเลยครับ
ปรากฏการณ์เพียซโซอิเล็กทริก (Piezoelectric Effect) คือปรากฏการทางไฟฟ้าที่เกิดขึ้นขณะที่ผลึก Crystal ถูกกดอัด ถูกขยาย หรือถูกบิดให้ผิดจากรูปร่างในสถาวะปกติ ผลึก Crystal จะจ่ายแรงดันไฟฟ้าระดับต่ำ ๆ ออกมา ในทางกลับกัน ถ้าจ่ายแรงดันไฟฟ้าให้ผลึก Crystal จะทำให้ ผลึก Crystal เกิดความเปลี่ยนแปลงทางกายภาพขึ้น

วงจรออสซิลเลเตอร์แบบ crystal สามารถต่อได้หลายรูปแบบ


Crystal oscillators แบบ Tuned Collector


Crystal oscillators แบบ Colpitts
ค่า C หาได้จาก CuF = 1/2 F XC

Pierce oscillator for frequencies between10 and 20 MHz.


ข้อมูลเพื่มเติม : วิกิพีเดีย ประเทศไทย

มาสร้างแฟลชไดร์ สไตล์เราเองกันดีกว่า....


มาสร้างแฟลชไดร์ สไตล์เราเองกันดีกว่า....




- สิ่งที่ต้องเตรียม

1. แฟลชไดร์ 1 อัน
2. คัตเตอร์ 1 อัน
3. อุปกรณ์ที่นำมาทำกล่องแฟลชไดร์ อันใหม่ 1 อัน
( ในที่นี้ใช้กล่องใส่ใส้ดินสอ... )
4. เลื่อยเล็กๆ หรือตะไบ หรือกรดาษทราย ก็ได้
5. กาว
6. เริ่มลงมือ...

- ขั้นตอนการสร้าง (เน้นง่ายๆ)

1. นำคัตเตอร์กรีดฝาครอบแฟลชไดร์ ที่เป็นพลาสติกออก
( เราเอาเฉพาะแผ่นวงจรด้านใน เท่านั้น )



ค่อยๆ งัดออกครับ



เราใช้เพาะแผ่นวงจรที่เปลือยนะครับ



2. นำตะไบหรือกรดาษทราย ถู หรือใช้เลื่อยเล็กๆ ตัดส่วนที่เราไม่ต้องการออก



ลองเอาแฟลชไดร์เสียบเข้าไป ถ้าแน่นก็เอาตะไบแต่งรูข้างในครับ



3. นำแผ่นวงจรแฟลชไดร์ ใส่เข้าไป



4. ติดกาว นิดหน่อย
5. เสร็จแล้ว


6. และแล้วก็ได้ แฟลชไดร์ เก๋ๆ ไว้ใช้แล้ว

 



ข้อมูลเพื่มเติม : วิกิพีเดีย ประเทศไทย

Write-protect switch


Write-protect switch

Write-protect switchเป็นกลไกทางกายภาพที่ป้องกันไม่ให้การปรับเปลี่ยนหรือลบที่มีค่าของข้อมูลบนอุปกรณ์ ซอฟต์แวร์ส่วนใหญ่ในเชิงพาณิชย์และเสียงและวิดีโอที่มีการขายก่อนที่มีการป้องกัน

เขียนบล็อก

เขียนบล็อกย่อยของการป้องกันการเขียนที่เป็นเทคนิคที่ใช้ในการพิสูจน์หลักฐานทางคอมพิวเตอร์เพื่อที่จะรักษาความสมบูรณ์ของอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล โดยการป้องกันการดำเนินการเขียนทั้งหมดไปยังอุปกรณ์เช่นฮาร์ดไดรฟ์ก็สามารถมั่นใจได้ว่าอุปกรณ์ยังคงไม่เปลี่ยนแปลงโดยวิธีการกู้คืนข้อมูล
ฮาร์ดแวร์เขียนบล็อกถูกคิดค้นโดยมาร์ค Menz และสตีฟ Bress (สิทธิบัตรสหรัฐอเมริกา 6813682 และสิทธิบัตร EP1 สหภาพยุโรป 342145)

ทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟท์แววิธีการเขียนบล็อกที่มีการใช้ แต่การสกัดกั้นซอฟต์แวร์โดยทั่วไปไม่เป็นที่เชื่อถือได้[ 1 ]

ข้อมูลเพื่มเติม : วิกิพีเดีย ประเทศไทย

LED


LED

ไดโอดเปล่งแสง (อังกฤษ: light-emitting diode หรือย่อว่า LED) เป็นอุปกรณ์สารกึ่งตัวนำอย่างหนึ่ง จัดอยู่ในจำพวกไดโอด ที่สามารถเปล่งแสงในช่วงสเปกตรัมแคบ เมื่อถูกไบอัสทางไฟฟ้าในทิศทางไปข้างหน้า ปรากฏการณ์นี้อยู่ในรูปของ electroluminescence สีของแสงที่เปล่งออกมานั้นขึ้นอยู่กับองค์ประกอบทางเคมีของวัสดุกึ่งตัวนำที่ใช้ และเปล่งแสงได้ใกล้ช่วงอัลตราไวโอเลต ช่วงแสงที่มองเห็น และช่วงอินฟราเรด ผู้พัฒนาไดโอดเปล่งแสงขึ้นเป็นคนแรก คือ นิก โฮโลยัก (Nick Holonyak Jr.) (เกิด ค.ศ. 1928) แห่งบริษัทเจเนรัล อิเล็กทริก (General Electric Company) โดยได้พัฒนาไดโอดเปล่งแสงในช่วงแสงที่มองเห็น และสามารถใช้งานได้ในเชิงปฏิบัติเป็นครั้งแรก เมื่อ ค.ศ. 1962

ตัวแปรต่างๆในการเลือกใช้ LED

color (wavelength)
เป็นตัวบอกสี ซึ่งหมายถึงขนาดของความยาวคลื่นที่ LED เปล่งแสงออกมา เช่น
  • สีฟ้า จะมีความยาวคลื่น ประมาณ 468nm
  • สีขาว จะมีความยาวคลื่น ประมาณ 462nm
  • สีเหลือง จะมีความยาวคลื่น ประมาณ 468nm
  • สีเขียว จะมีความยาวคลื่น ประมาณ 565nm
  • สีแดง จะมีความยาวคลื่น ประมาณ 630nm เป็นต้น
lens
เป็นตัวบอกประเภทและวัสดุที่ใช้ทำ เช่น
  1. color diffused lens
  2. water clear lens
millicandela rating
เป็นตัวบอกค่าความสว่างของแสงที่ LED เปล่งออกมา ยิ่งมีค่ามากยิ่งสว่างมาก
voltage rating
อัตตราการทน[[ความต่างศักย์ไฟฟ้า] ที่ LED รับได้และไม่พัง


ข้อมูลเพื่มเติม : วิกิพีเดีย ประเทศไทย

Crystal oscillator


Crystal oscillator

คริสตัลเป็นoscillator อิเล็กทรอนิกส์วงจรที่ใช้กลสะท้อนของการสั่นสะเทือนของผลึกของวัสดุ piezoelectricในการสร้างสัญญาณไฟฟ้าที่มีความแม่นยำมากความถี่ .[ 1 ] [ 2 ] [ 3 ]ความถี่นี้เป็นที่นิยมใช้ในการติดตามของเวลา (ในขณะที่นาฬิกาข้อมือควอทซ์ ) เพื่อให้มีเสถียรภาพสัญญาณนาฬิกาเพื่อดิจิตอล วงจรรวมและเพื่อรักษาเสถียรภาพของความถี่ในการส่งสัญญาณวิทยุและรับ . ชนิดที่พบมากที่สุดของไอเสีย piezoelectric ใช้เป็นผลึกคริสตัลดังนั้นวงจร oscillator ผสมผสานพวกเขากลายเป็นที่รู้จัก oscillators คริสตัล[ 1 ]แต่วัสดุ piezoelectric อื่น ๆ รวมทั้งเซรามิกคริสตัลไลน์ที่ใช้ในวงจรที่คล้ายกัน
ผลึกควอตซ์เป็นผลิตภัณฑ์ที่ผลิตสำหรับความถี่จากไม่กี่สิบกิโลเฮิรตซ์ไปหลายร้อยเมกะเฮิรตซ์ กว่าสองพันล้านผลึกเป็นผลิตภัณฑ์ที่ผลิตเป็นประจำทุกปี ส่วนใหญ่จะใช้สำหรับอุปกรณ์ของผู้บริโภคเช่นนาฬิกาข้อมือ , นาฬิกา , วิทยุ , เครื่องคอมพิวเตอร์และโทรศัพท์มือถือ . ผลึกควอตซ์ยังพบว่าภายในวัดและทดสอบอุปกรณ์เช่นเคาน์เตอร์กำเนิดสัญญาณและเตอร์ .

การดำเนินการ

คริสตัลเป็นของแข็งที่ส่วนประกอบอะตอม , โมเลกุลหรือไอออนจะบรรจุในการสั่งซื้อเป็นประจำในรูปแบบการทำซ้ำการขยายในทุกสามมิติอวกาศ
เกือบทุกวัตถุที่ทำจากยางยืดวัสดุที่สามารถนำมาใช้เช่นคริสตัลด้วยเหมาะสมก้อนเนื่องจากวัตถุทุกคนมีธรรมชาติที่สะท้อนความถี่ของการสั่นสะเทือน . ตัวอย่างเช่นเหล็กยืดหยุ่นได้ดีมากและมีความเร็วสูงของเสียง มันก็มักจะใช้ในการกรองกลก่อนที่จะผลึก สะท้อนความถี่ขึ้นอยู่กับขนาดรูปร่างความยืดหยุ่นและความเร็วของเสียงในวัสดุ ผลึกความถี่สูงจะถูกตัดโดยปกติจะอยู่ในรูปของการที่ง่ายและแผ่นสี่เหลี่ยม ผลึกความถี่ต่ำเช่นที่ใช้ในนาฬิกาดิจิตอลถูกตัดมักจะอยู่ในรูปทรงของส้อมเสียง . สำหรับการใช้งานไม่จำเป็นต้องมีการกำหนดเวลาที่แม่นยำมากต้นทุนต่ำไอเสียเซรามิกมักจะใช้ในสถานที่ของผลึกคริสตัล
เมื่อคริสตัลของผลึกถูกตัดอย่างถูกต้องและติดตั้งก็สามารถสร้างขึ้นมาเพื่อบิดเบือนในสนามไฟฟ้าโดยการใช้แรงดันไฟฟ้าที่ขั้วไฟฟ้าใกล้หรือคริสตัล แห่งนี้เป็นที่รู้จักกันelectrostrictionหรือ piezoelectricity ผกผัน เมื่อสนามจะถูกลบออก, ควอทซ์จะสร้างสนามไฟฟ้าที่จะกลับไปที่รูปร่างก่อนหน้านี้และสามารถสร้างแรงดันไฟฟ้า ผลที่ได้คือว่าผลึกคริสตัลพฤติกรรมเช่นวงจรประกอบด้วยตัวเหนี่ยวนำ , ตัวเก็บประจุและตัวต้านทานที่มีความถี่จังหวะที่แม่นยำ (ดูวงจร RLC .)
ควอตซ์มีประโยชน์ต่อไปว่าค่าคงที่ยืดหยุ่นและการเปลี่ยนแปลงขนาดของมันในลักษณะที่พึ่งพาความถี่กับอุณหภูมิจะต่ำมาก ลักษณะเฉพาะจะขึ้นอยู่กับโหมดของการสั่นสะเทือนและมุมที่ผลึกที่ถูกตัด (เทียบกับแกน crystallographic มัน) [ 10 ]ดังนั้นการสะท้อนความถี่ของแผ่นซึ่งขึ้นอยู่กับขนาดของมันจะไม่เปลี่ยนแปลงมาก อย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งหมายความว่านาฬิกาควอตซ์กรองหรือ oscillator จะยังคงอยู่ที่ถูกต้อง สำหรับการใช้งานที่สำคัญ oscillator ผลึกจะติดตั้งอยู่ในการควบคุมอุณหภูมิในภาชนะที่เรียกว่าเตาอบคริสตัล , และยังสามารถติดตั้งบนโช๊คอัพเพื่อป้องกันการก่อกวนโดยการสั่นสะเทือนเชิงกลภายนอก


ข้อมูลเพื่มเติม : วิกิพีเดีย ประเทศไทย

หน่วยความจำแฟลช


หน่วยความจำแฟลช


หน่วยความจำแฟลช (อังกฤษ: Flash memory) หรือ แฟลช คือ อุปกรณ์เก็บข้อมูลถาวรสำหรับคอมพิวเตอร์ที่สามารถลบและเขียนใหม่ได้ โดยมีลักษณะการทำงานเป็นอิเล็กทรอนิกส์ทั้งหมด กล่าวคือไม่มีชิ้นส่วนที่เคลื่อนที่ขณะทำงาน (ต่างกับฮาร์ดดิสก์ที่มีจานแม่เหล็กหมุนตลอดเวลาขณะทำงาน)
หน่วยความจำแฟลชพัฒนาต่อมาจาก EEPROM (หน่วยความจำแบบรอมที่สามารถลบข้อมูลได้) ปัจจุบันหน่วยความจำแฟลชมีด้วยกันสองชนิดคือ หน่วยความจำแฟลชชนิด NAND และหน่วยความจำแฟลชชนิด NOR ซึ่งเป็น NAND และ NOR เป็นชื่อของโลจิกเกตที่เซลล์หน่วยความจำแฟลชแต่ละชนิดใช้
หน่วยความจำแฟลชชนิดที่ได้รับความนิยมในปัจจุบันคือ ชนิด NAND และใช้เป็นหน่วยความจำใน แฟลชไดรฟ์, โซลิดสเตตไดรฟ์, เมโมรีการ์ด และผลิตภัณฑ์อื่นๆ อีกมาก โดยถูกใช้เป็นหลักในอุปกรณ์พกพาเนื่องจากสามารถทนต่อแรงกระแทกได้ดีกว่าฮาร์ดดิสก์มาก


ข้อมูลเพื่มเติม : วิกิพีเดีย ประเทศไทย

Test Point


Test Point

จุดทดสอบเป็นที่ตั้งภายในวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ในการอย่างใดอย่างหนึ่งตรวจสอบสถานะของวงจรหรือการฉีดทดสอบสัญญาณ จุดทดสอบมีสองใช้หลัก
  • ในระหว่างการผลิตที่พวกเขาจะใช้ในการตรวจสอบว่าอุปกรณ์ประกอบใหม่ทำงานอย่างถูกต้อง อุปกรณ์ที่ล้มเหลวในการทดสอบนี้จะถูกทิ้งอย่างใดอย่างหนึ่งหรือส่งไปยังสถานีปรับปรุงเพื่อพยายามที่จะซ่อมแซมข้อบกพร่องการผลิต
  • หลังการขายของอุปกรณ์ให้กับลูกค้าที่จุดทดสอบอาจจะถูกใช้ในเวลาต่อมาในการซ่อมแซมอุปกรณ์ที่ถ้าทำงานผิดปกติหรือถ้าอุปกรณ์ที่จะต้องมีการสอบเทียบอีกครั้งหลังจากที่มีส่วนประกอบแทนที่
จุดทดสอบสามารถระบุและอาจรวมถึงขาสำหรับสิ่งที่แนบของคลิปจระเข้หรืออาจจะมีการเชื่อมต่อที่สมบูรณ์แบบสำหรับคลิปทดสอบ
โมเดิร์นขนาดเล็กที่ยึดติดพื้นผิวอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่มักจะมีเพียงแถวของการปิดฉลากกระป๋องแผ่นประสาน อุปกรณ์จะอยู่ในการติดตั้งการทดสอบที่เก็บอุปกรณ์อย่างปลอดภัยและเชื่อมต่อแผ่นพื้นผิวสัมผัสพิเศษถูกกดลงบนแผ่นประสานในการเชื่อมต่อพวกเขาทั้งหมดเป็นกลุ่ม


ข้อมูลเพื่มเติม : วิกิพีเดีย ประเทศไทย

USB mass storage controller device


USB mass storage controller device

ชั้นอุปกรณ์เก็บข้อมูลขนาดใหญ่ (หรือเรียกว่าMSC USBหรือUMS ) คือชุดของคอมพิวเตอร์โปรโตคอลการสื่อสารที่กำหนดโดยฟอรั่ม USB Implementersซึ่งทำให้Universal Serial Bus (USB) อุปกรณ์ที่สามารถเข้าถึงเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายและช่วยให้การถ่ายโอนไฟล์ ระหว่างโฮสต์และอุปกรณ์ ไปยังโฮสต์อุปกรณ์ USB ทำหน้าที่ฮาร์ดไดรฟ์ภายนอกที่ทำให้การลากและวางการถ่ายโอนไฟล์ โปรโตคอลการตั้งค่าการเชื่อมต่อกับจำนวนของอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล

การใช้งาน

อุปกรณ์เชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ผ่านมาตรฐานนี้ ได้แก่ :

อุปกรณ์ที่รองรับมาตรฐานนี้เป็นที่รู้จักกัน MSC (Mass Storage ชั้น) อุปกรณ์ ในขณะที่ MSC เป็นอักษรย่อเดิม UMS (ยูนิเวอร์แซ Mass Storage) นอกจากนี้ยังได้เข้ามาในการใช้งานทั่วไป

สนับสนุนระบบปฏิบัติการ

ส่วนใหญ่หลักระบบปฏิบัติการรวมถึงการสนับสนุน USB อุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลมวล การสนับสนุนในระบบเก่ามักจะสามารถใช้งานผ่านแพทช์

Microsoft Windows

Microsoft Windows ได้รับการสนับสนุน MSC ตั้งแต่ Windows 2000 (Windows NT5) มีการสนับสนุนสำหรับ USB จัดทำโดยไมโครซอฟท์ใน Windows ก่อนที่จะเป็นWindows 95และWindows NT 4.0 . Windows 95 OSR2.1 ปรับปรุงระบบปฏิบัติการให้ความสำคัญการสนับสนุนที่ จำกัด สำหรับ USB ในช่วงเวลาที่ไม่มีคนขับรถทั่วไป USB เก็บข้อมูลถูกผลิตโดยไมโครซอฟท์ (รวมถึงWindows 98 ) และโปรแกรมควบคุมอุปกรณ์เฉพาะเป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับประเภทของอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลแต่ละ ของบุคคลที่สามไดรเวอร์ฟรีแวร์กลายเป็นใช้ได้สำหรับ Windows 98 และ Windows 98SE และไดรเวอร์ของบุคคลที่สามนอกจากนี้ยังมีสำหรับ Windows NT 4.0 Windows 2000ได้รับการสนับสนุน (ผ่านไดรเวอร์ทั่วไป) สําหรับอุปกรณ์ USB เก็บข้อมูลมาตรฐานWindows Meและทุก รุ่นที่ใหม่กว่าของ Windows นอกจากนี้ยังรวมถึงการสนับสนุน
Windows Mobileสนับสนุนการเข้าถึงมากที่สุดอุปกรณ์ USB เก็บข้อมูลรูปแบบด้วยFATบนอุปกรณ์ที่มี USB โฮสต์ แต่อุปกรณ์พกพาโดยทั่วไปแล้วจะไม่สามารถให้พลังงานเพียงพอสำหรับฮาร์ดไดรฟ์เปลือกดิสก์ (ขนาด 2.5 นิ้ว (64 มม. ) ฮาร์ดไดรฟ์มักจะต้องสูงสุด 2.5  Wในคุณสมบัติ USB) โดยตัวขับเคลื่อนฮับ USB . อุปกรณ์ Windows Mobile ไม่สามารถแสดงระบบแฟ้มเป็นอุปกรณ์เก็บข้อมูลเว้นแต่ Implementer อุปกรณ์ที่เพิ่มฟังก์ชันการทำงานที่ แต่โปรแกรมของบุคคลที่สามเพิ่ม MSC การแข่งขันไปยังอุปกรณ์ WM มากที่สุด (เชิงพาณิชย์ Softick CardExport และ WM5torage ฟรี) เฉพาะการ์ดหน่วยความจำ (ไม่ใช่หน่วยความจำเก็บข้อมูลภายใน) โดยทั่วไปจะสามารถส่งออกเนื่องจากแฟ้มระบบประเด็น เห็นการเข้าถึงอุปกรณ์ด้านล่าง
หน้าต่างการทำงานอัตโนมัติคุณสมบัติทำงานในสื่อที่ถอดได้ทั้งหมดช่วยให้อุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลที่จะเป็นพอร์ทัลสำหรับไวรัสคอมพิวเตอร์ . ตั้งแต่FAT ระบบแฟ้ม (มักจะใช้ในการจัดเก็บ USB สำหรับความเรียบง่ายและความเข้ากันได้) มีคุณสมบัติควบคุมการเข้าถึงไม่กี่ผู้ใช้ไม่สามารถป้องกันไดรฟ์ USB จากการติดเชื้อหลังจากการแทรกลงในเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ไม่น่าเชื่อถือหากไดรฟ์ที่มีสวิทช์แบบอ่านอย่างเดียว เริ่มต้นด้วยWindows 7ไมโครซอฟท์ จำกัด การทำงานอัตโนมัติซีดีและไดรฟ์ดีวีดีการปรับปรุงรุ่น Windows ก่อนหน้านี้[ 1 ]

MS-DOS

ทั้งMS-DOSหรือระบบปฏิบัติการที่เข้ากันได้มากที่สุดรวมถึงการสนับสนุนสำหรับ USB ไดรเวอร์ทั่วไปของบุคคลที่สามเช่น Duse, USBASPI และ DOSUSB มีอยู่เพื่อสนับสนุนอุปกรณ์ USB เก็บข้อมูลFreeDOSสนับสนุนการเก็บรักษามวล USB เป็นProgramming Interface ขั้นสูง SCSIอินเตอร์เฟซ (ASPI)

Mac OS

แอปเปิ้ลคอมพิวเตอร์ของMac OS 9 และXสนับสนุนการเก็บรักษามวล USB; Mac OS 8.5.1 (ระบบปฏิบัติการเก่า) ได้รับการสนับสนุนการเก็บรักษามวล USB ผ่านโปรแกรมควบคุมตัวเลือก

ลินุกซ์

ลินุกซ์ได้รับการสนับสนุนอุปกรณ์ USB เก็บข้อมูลตั้งแต่รุ่น 2.4 (2001), และbackportเคอร์เนล 2.2.18 [ 2 ]ได้รับการทำ ใน Linux นอกจากไดรเวอร์ทั่วไปสำหรับอุปกรณ์การเรียนอุปกรณ์เก็บข้อมูลขนาดใหญ่, quirks แก้ไขข้อผิดพลาดและการทำงานที่เพิ่มขึ้นสำหรับอุปกรณ์และควบคุม (ฟังก์ชั่นการใช้งานของผู้ผลิตเช่นATAคำสั่งผ่านผ่าน ATA-USB สะพานประโยชน์สำหรับสมาร์ท [หรือ อุณหภูมิ] การตรวจสอบการควบคุมการหมุนขึ้นและหมุนลงของดิสก์ในฮาร์ดไดรฟ์และตัวเลือกอื่น ๆ ) ที่มีอยู่ ซึ่งรวมถึงมากที่สุดAndroidอุปกรณ์ที่ใช้ตั้งแต่ Android ใช้ลินุกซ์

ระบบ Unix อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง

โซลาริสได้รับการสนับสนุนอุปกรณ์ตั้งแต่รุ่น 2.8 (1998), NetBSDตั้งแต่รุ่น 1.5 (2000), FreeBSDตั้งแต่รุ่น 4.0 (2000) และOpenBSDตั้งแต่รุ่น 2.7 (2000) ดิจิตอลยูนิกซ์ (ภายหลังเป็นที่รู้จักTru64 ยูนิกซ์ ) ได้รับการสนับสนุน USB และอุปกรณ์ USB เก็บข้อมูลตั้งแต่รุ่น 4.0E (1998) AIXได้รับการสนับสนุนอุปกรณ์ USB เก็บข้อมูลตั้งแต่ T9 5.3 และ 6.1 T3 รุ่นของตน แต่ก็ไม่ได้เป็นอย่างดีได้รับการสนับสนุนและขาดคุณสมบัติเช่นการแบ่งและการป้องกันทั่วไป[ 3 ]

เกมคอนโซลและอุปกรณ์ฝังตัว

Xbox 360และPlayStation 3สนับสนุนอุปกรณ์ส่วนใหญ่เก็บข้อมูลสำหรับการถ่ายโอนข้อมูลของสื่อเช่นภาพและเพลง เมื่อวันที่เมษายน 2010, Xbox 360 (ก) การใช้อุปกรณ์เก็บข้อมูลสำหรับการเล่นเกมที่บันทึกไว้[ 4 ]และได้รับอนุญาตให้ถ่ายโอน PS3 ระหว่างอุปกรณ์กับอุปกรณ์เก็บข้อมูล นักพัฒนาอิสระได้ออกไดรเวอร์สำหรับTI-84 พลัสและTI-84 พลัสเงินฉบับในการเข้าถึงอุปกรณ์ USB เก็บข้อมูล[ 5 ]ในเครื่องคิดเลขเหล่านี้usb8xขับสนับสนุนmsd8xการประยุกต์ใช้ส่วนติดต่อผู้ใช้


ข้อมูลเพื่มเติม : วิกิพีเดีย ประเทศไทย

ยูเอสบี


ยูเอสบี

Universal Serial Bus (USB - ยูเอสบี) เป็นข้อกำหนดมาตรฐานของบัสการสื่อสารแบบอนุกรม เพื่อใช้ในการเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ ซึ่งโดยทั่วไปจะใช้กับคอมพิวเตอร์ แต่สามารถใช้ได้กับอุปกรณ์อื่น เช่น เซตทอปบอกซ์ (set-top boxes), เครื่องเล่นเกม (game consoles) และพีดีเอ (PDAs).

------------------------------------------------------------
ปีที่คิดค้น:มกราคม 2539
ขนาดของบิต:1 บิต
จำนวนอุปกรณ์ที่ใช้ได้พร้อมกัน:127 ต่อโฮสต์
ความเร็ว:480 Mbit/s
รูปแบบการเชื่อมต่อ:อนุกรม
แบบเชื่อมต่อทันที?ใช่
แบบเชื่อมต่อภายนอก?ใช่
------------------------------------------------------------

เรื่องโดยสังเขป

ระบบยูเอสบีเป็นการออกแบบโดยประกอบด้วย โฮสท์คอนโทรลเลอร์ และอุปกรณ์หลาย ๆ อุปกรณ์ที่ต่อเชื่อมในรูปแบบต้นไม้โดยใช้อุปกรณ์พิเศษเรียกว่า "ฮับ (hub)" โดยมีข้อจำกัดของการต่อเชื่อมฮับได้ไม่เกิน 5 ระดับต่อ 1 คอนโทรลเลอร์ และสามารถต่อเชื่อมได้กับอุปกรณ์ 127 อุปกรณ์ต่อ 1 โฮสท์คอนโทรลเลอร์ โดยนับรวมฮับเป็นอุปกรณ์ด้วย ในคอมพิวเตอร์รุ่นใหม่ๆ จะมีโฮสท์คอนโทรลเลอร์อยู่หลายช่อง ซึ่งพอเพียงสำหรับการต่อเชื่อมอุปกรณ์จำนวนมาก ๆ การต่อเชื่อมแบบยูเอสบีไม่จำเป็นต้องมีจุดสิ้นสุด (terminator) เหมือนการต่อเชื่อมแบบ SCSI
การออกแบบของยูเอสบีมีจุดมุ่งหมายที่จะขจัดความจำเป็นในการเพิ่มการ์ดขยาย (expansion card) ในช่องการเชื่อมต่อแบบบัส ISA หรือ PCI และเพิ่มความสามารถของรูปแบบ plug-and-play โดยยอมให้อุปกรณ์ต่าง ๆ สามารถถอด สับเปลี่ยน หรือเพิ่มจากระบบโดยไม่ต้องปิดคอมพิวเตอร์หรือบูตระบบใหม่ เมื่ออุปกรณ์ใหม่ถูกต่อเชื่อมเข้าสู่บัสเป็นครั้งแรก โฮสท์จะทำการระบุอุปกรณ์ และติดตั้งตัวขับอุปกรณ์ (device driver) ที่จำเป็นในการใช้งานอุปกรณ์นั้น

ยูเอสบีสามารถเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ต่อพ่วง (peripherals) เช่น เมาส์ แป้นพิมพ์ แพดเกม จอยสติ๊ก สแกนเนอร์ กล้องถ่ายรูปดิจิตอล เครื่องพิมพ์ ฮาร์ดดิสก์ และ อุปกรณ์เครือข่าย เป็นต้น ยูเอสบีได้กลายเป็นรูปแบบการเชื่อมต่อมาตรฐานสำหรับอุปกรณ์มัลติมีเดีย เช่น สแกนเนอร์ หรือกล้องถ่ายรูปดิจิตอล และนิยมนำไปทดแทนการเชื่อมต่อแบบเดิม เช่น การเชื่อมต่อแบบขนาน (parallel) สำหรับเครื่องพิมพ์ การเชื่อมต่อแบบอนุกรม (serial) สำหรับโมเด็ม ทั้งนี้เนื่องจากยูเอสบีช่วยลดข้อจำกัดหลาย ๆ ด้านของการเชื่อมต่อแบบเดิม เช่น การเชื่อมต่อเครื่องพิมพ์หลาย ๆ เครื่องเข้ากับคอมพิวเตอร์เครื่องเดียว ในปี 2547 มีอุปกรณ์ยูเอสบีประมาณ 1 พันล้านชิ้นถูกผลิตขึ้น และอุปกรณ์ต่อพ่วงใหม่ๆ ที่ถูกผลิตออกมาก็จะใช้รูปแบบการต่อเชื่อมแบบยูเอสบี มีเพียงอุปกรณ์ที่ต้องการความสามารถในการส่งผ่านข้อมูลมาก ๆ เท่านั้นที่ไม่สามารถใช้ยูเอสบี เช่น จอภาพแสดงผล หรือ มอนิเตอร์ และอุปกรณ์ดิจิตอลวีดีโอคุณภาพสูง เป็นต้น

เกณฑ์มาตรฐาน

การออกแบบของยูเอสบีถูกกำหนดมาตรฐานโดย USB Implementers Forum (USBIF), โดยเป็นการรวมตัวกันของผู้นำด้านอุตสาหกรรมด้านคอมพิวเตอร์และอิเล็กทรอนิกส์ เช่น แอปเปิล, เอชพี, เอ็นอีซี, ไมโครซอฟท์, อินเทล, และ Agere.
ในเดือนมกราคม 2548 ได้มีการกำหนดรายละเอียดของยูเอสบีรุ่นที่ 2.0 โดยมาตรฐานของรุ่น 2.0 ได้มีการกำหนดโดย USBIF ในตอนปลายปี 2544 รุ่นก่อนหน้าของยูเอสบีคือ 0.9, 1.0 และ 1.1 ซึ่งแต่ละรุ่นที่ออกมาใหม่จะมีความเข้ากันได้ย้อนหลัง (backward compatibility) กับรุ่นที่ออกมาก่อนหน้านี้
ปลั๊กยูเอสบีและรีเซ็พเตอร์ (receptors) ที่เรียกว่า Mini-A และ Mini-B ยังคงสามารถใช้งานได้ตามที่กำหนดโดย On-The-Go Supplement to the USB 2.0 Specification ซึ่งข้อกำหนดนี้ปัจจุบันเป็นเวอร์ชัน 1.0a

สัญญาณ USB

สัญญาณ USB มาตรฐาน

พินขาออกของหัวต่อ USB มาตรฐาน
Pinฟังก์ชัน (โฮส)ฟังก์ชัน (อุปกรณ์)
1VBUS (4.75-5.25 V)VBUS (4.4-5.25 V)
2D−D−
3D+D+
4GroundGround
สัญญาณ USB ถูกส่งผ่านโดยสายส่งข้อมูลคู่แบบบิดเกลียว (twisted pair) แทนโดยสัญลักษณ์ D+ และ D−. สายคู่บิดเกลียวช่วยป้องกันผลกระทบของสัญญาณรบกวนทางคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า โดยใช้หลักการหักล้างสัญญาณแบบครึ่งอัตรา (half-duplex differential signaling) ซึ่งทำให้ส่งสัญญาณในสายที่ยาวได้ดีขึ้น. ฉะนั้นสัญญาณ D+ และ D− จึงเป็นสัญญาณที่ทำงานร่วมงาน ไม่ใช่สัญญาณแบบซิมเพล็กซ์แยกขาดจากกัน.

สัญญาณ MiniUSB

พินฟังก์ชัน
1VBUS (4.4-5.25 V)
2D−
3D+
4ID
5Ground
พินของมินิ USB เหมือนกับของ USB มาตรฐาน นอกจากพิน4 เรียกว่า ID ซึ่งจะถูกต่อกับพิน5. ในกรณีของ Mini–A เพื่อใช้ระบุว่าอุปกรณ์ใดควรปฏิบัติหน้าที่เป็นโฮสในตอนเริ่มต้น, สำหรับกรณีของ ​​Mini–B พินนี้จะเป็นวงจรเปิด. นอกจากนี้หัวต่อของแบบ Mini–A ยังมีชิ้นส่วนพลาสติกสำหรับป้องกันการเสียบลงไปในอุปกรณ์ที่เป็นแบบ slave–only.


ข้อมูลเพื่มเติม : วิกิพีเดีย ประเทศไทย